การควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟสด้วยวิธีปรับ V/f ให้คงที่

v1=220;

v2=v1/2;

%v2=130.899;

s=1:-0.001:0.001;

r1=0.641;

r2=0.332;

x1=1.106;

x2=0.464;

xm=26.3;

f1=50;

f2=f1/2;

w1=2*pi*f1;

w2=2*pi*f2;

l1=x1/w1;

l2=x2/w1;

lm=xm/w1;

ns1=120*f1/4;

ws1=2*pi*ns1/60

ns2=120*f2/4;

ws2=2*pi*ns2/60

%not exac

t1=(3*v1^2.*r2./s)./(ws1.*((r1+r2./s).^2+(w1*l1+w1*l2).^2));

t2=(3*v2^2.*r2./s)./(ws2.*((r1+r2./s).^2+(w2*l1+w2*l2).^2));

%find Tmax

tmax1=(3*v1^2)/(2*ws1*(r1 + sqrt(r1^2 + (w1*l1+w1*l2)^2)))

tmax2=(3*v2^2)/(2*ws2*(r1 + sqrt(r1^2 + (w2*l1+w2*l2)^2)))

nr1=(1-s)*ns1;

nr2=(1-s)*ns2;

s1=(ns1-nr1)/ns1;

s2=(ns2-nr2)/ns2;

plot(nr1,t1,nr2,t2)

%plot(s1,t1,s2,t2)

grid

 ถ้าให้มอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟสมีพารามิเตอร์ r1=0.641; r2=0.332; x1=1.106;

x2=0.464; xm=26.3; และเมื่อทำการหาค่าแรงบิดแล้ว อาจใช้โปรแกรม Matlab ช่วยการหาค่าดังโปรแกรม ข้างบน

 เมื่อนำแรงบิดและความเร็วรอบที่ความถี่เป็น 25 Hz และ 50 Hz มาเขียนรูปกราฟได้ดังรูป

   จากรูปจะเห็นว่าเมื่อความถี่ลดลงแรงบิดสูงสุดจะลดลงด้วย ในทางทฤษฎีหรือในแนวความคิดแล้วแรงบิดน่าจะคงที่เพราะว่าฟลักซ์แม่เหล็กจะคงที่ แต่ในความเป็นจริงในตัวมอเตอร์มีค่าความต้านทาน ดังนั้นเมื่อลดแรงดันลงกระแสทีเข้ามอเตอร์จะลดลง จึงส่งผลฟลักซ์ลดลงด้วย ดังนั้นแรงบิดจึงลดลง วิธีการแก้ปัญหาก็คือในช่วงความเร็วรอบต่ำๆจึงควรเพิ่ม (boost) แรงดันขึ้น หรือปรับ V/f ให้สูงขึ้น (f คงที่ ที่ต้องการ) อาทิเช่นจากมอเตอร์ในตัวอย่างถ้าปรับแรงดันเป็น 131V จะได้แรงบิดและความเร็วรอบเป็นดังรูป

  สรุปแล้วการควบคุมความเร็วรอบที่ต้องการแรงบิดคงที่ ที่ความถี่ต่ำๆต้องเพิ่มแรงดันขึ้นในช่วงความถี่ต่ำ เพื่อที่จะทำให้แรงบิดช่วงเริ่มเดินมีค่าสูง อย่างไรก็ตามเราต้องสนใจเกี่ยวกับกระแสเข้ามอเตอร์ด้วย ไม่ควรเกินพิกัดของมอเตอร์